กำหนดการประชุม

การประชุมวิชาการระดับชาติด้านภูมิสถาปัตยกรรม ครั้งที่ 5
“ปรกติที่ปรารถนา”


และผ่านระบบออนไลน์ ZOOM
วันพฤหัสที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

วันพฤหัสที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565กิจกรรม (ภาพรวมทั้งวัน)
08.30 – 09.00 น.ลงทะเบียนเข้างาน วีดิโอประชาสัมพันธ์
09.00 – 09.30 นพิธีเปิดโครงการ การประชุมวิชาการระดับชาติด้านภูมิสถาปัตยกรรม ครั้งที่ 5
กล่าวรายงาน โดย คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กล่าวเปิดงานโดย อธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้
09.30 – 10.30 น.บรรยายพิเศษ เรื่อง “ความคาดหวังจากงานภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture: Expected Contribution)” โดย อ. ชูศักดิ์ จันทร์ปฐมพงศ์
10.30 – 11.30 น.บรรยายพิเศษ เรื่อง “”ภูมิภาวะ : ปรกติสุข ที่ปรารถนา (Expected Normal Landscapes)” โดย คุณ วรรณพร พรประภา
11.30 – 13.00 น.พักรับประทานอาหารกลางวัน
11.00 – 12.00 น. รับฟังการบรรยายหัวข้อ โดยวิทยากรพิเศษ (Keynote Speaker) ท่านที่ 2
12.00 – 13.00 น.พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. -15.30 น.แบ่งกลุ่มการนำเสนอผลงานวิชาการออกเป็น 2 ห้องนำเสนอ มีผู้นำเสนอผลงานทั้งสิ้น 12 คน (ดูตารางหัวข้อการนำเสนองานประกอบ)
15.30 น.ปิดการประชุม

หมายเหตุ
1) เกียรติบัตรการนำเสนอผลงานวิชาการ/วิจัยดีเด่น (Best Presentation) ทางผู้จัดการประชุม จะดำเนินการส่งเกียรติบัตรให้ทางไปรษณีย์ต่อไป

2) การตัดสินรางวัลการนำเสนอผลงานวิชาการ/วิจัยดีเด่น จะพิจารณาประกอบกัน ระหว่างเอกสารการนำเสนอที่ส่งเข้ามาก่อนการประชุม และการนำเสนอในเวลาประชุม โดยมีคณะกรรมการตัดสินให้คะแนน

วันพฤหัสที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565กลุ่มที่ 1 ห้องนำเสนอที่ 1 (การออกแบบ การจัดการและการบำรุงรักษาในทางภูมิสถาปัตยกรรม นิเวศวิทยาภูมิทัศน์ และภูมิทัศน์วัฒนธรรม )ผู้นำเสนอ
13.00-13.30 น.การประเมินสุขภาพต้นมะขามเพื่อการจัดการที่ยั่งยืน กรณีศึกษาต้นมะขามริมถนนนครสวรรค์ เทศบาลเมืองมหาสารคาม
Health Assessment of Tamarind Trees for sustainable management: case studies of Tamarind trees along Nakhon Sawan Road, Maha Sarakham
เมทินี โคตรดี, กิตติคุณ เลิศประยูรมิตร, ยศวดี จินดามัย
13.30-14.00 น.การประเมินคุณค่าพื้นที่ภูมิทัศน์วัฒนธรรมในทัศนะของ UNESCO World Heritage
The Assessment of Cultural Landscape Areas in the View of UNESCO World Heritage
ชัยสิทธิ์ ด่านกิตติกุล, ลัษมณ ไมตรีมิตร, ธีรภัทร จิโน, ปวร มณีสถิตย์, พลกฤต กฤตโยภาส, วิศาล ชูประดิษฐ์
14.00-14.30 น.การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน้ำหลากและนิเวศบริการของพื้นที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์และเศรษฐกิจชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนลาดชะโด
The Impacts of Changing Flood Pulsing Landscape and Ecosystem Services on Well-being and Household Economy: the Case Study of Lad Chado Community
เกียรติกมล นิลาภรณ์กุล, ดนัย ทายตะคุ
14.30-15.00 น.การออกแบบภูมิทัศน์ชุมชนเกษตรเมือง: จากกรณีศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สู่การเสนอแนะกับบริบทปทุมธานี
Agrihood Landscape Design: From South East Asian Case Studies Towards Design Proposal in Pathum Thani Context
ฟ้า ลิขิตสวัสดิ์, อลิษา สหวัชรินทร์
15.00-15.30 น.คุณค่าที่หลากหลายของภูมิทัศน์เกษตรกรรม: การบริการเชิงนิเวศของสวนในบางกอกและการจัดการที่เหมาะสม
Multi-function Agricultural Landscape: Ecosystem Services from Bangkok Inner’s Orchards and Farmers’ Appropriate Management
วุฒิพงษ์ ทวีวงศ์, สิกิต อริฟวิโดโด
วันพฤหัสที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565กลุ่มที่ 2 ห้องนำเสนอที่ 2 (การจัดการความรู้,การประเมินหรือการทดลองเพื่อเสนอแนวทางจัดการในงานภูมิสถาปัตยกรรม)ผู้นำเสนอ
13.00-13.30 น.วิชาออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมตามปรกติที่ปรารถนา: การทบทวนวรรณกรรม และการสังเกต จากกรุงเทพฯ และอู่ฮั่น
The next normal of blended landscape architecture design studio: Literature review, and observation from Bangkok and Wuhan
พิณ อุดมเจริญชัยกิจ, สุนันทนา นวลละออ
13.30-14.00 น.การสร้างสรรค์สวนญี่ปุ่นแบบใหม่ด้วยศิลปะร่วมสมัยและวิทยาศาสตร์ผ่านการจำลองคลื่น
Reimagining Japanese Zen Garden with Wave simulation
เอจิ ซูมิ, ปีเตอร์ นิเกล พาวเวอร์
14.00-14.30 น.แบบจำลองรูปแบบการกระจายตัวของภาวะหมอกควันในพื้นที่ภูมิทัศน์เมืองเชียงใหม่
Modeling of Haze Distribution Patterns on Chiang Mai Landscape Urban Area
วาทยุทธ การะเกตุ, วิทยา ดวงธิมา, นิกร มหาวัน, พันธุ์ระวี กองบุญเทียม
14.30-15.00 น.แนวทางการออกแบบแสงในบริเวณเมืองเก่าเชียงใหม่: กรณีศึกษาวัดสำคัญ
Lighting Design Approach for Chiangmai Old Town: Case Studies through Temples
อัจฉราวรรณ จุฑารัตน์, วีรวิทย์ มุสิกพงษ์
15.00-15.30 น.อิทธิพลในการพิจารณาองค์ประกอบของพื้นที่ส่วนกลาง ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อโครงการหมู่บ้านจัดสรร ในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
Influence on the Composition of Common Areas that Influence the Decision to Purchase a Housing Development in Chiang Mai Province
วรินทร์ กุลินทรประเสริฐ

หมายเหตุ

  1. ผู้นำเสนอทุกท่านจะได้ Speaker Ticket สำหรับเข้างานทาง Zoom Event ทาง Email Adress ที่ท่านแจ้งไว้เมื่อส่ง Abstracts